ได้มีโอกาสกลับไปอ่านการ์ตูน Liar Game เจอตอนนึงมีการพูดถึงเทคนิคทางจิตวิทยาที่ชื่อ Door-in-the-face (DITF) เลยไปหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าจริง ๆ แล้วเทคนิคนี้มันคืออะไร ก็เจอเรื่องที่น่าสนใจ
จิตวิทยาการขายของกับ DITF และ FITD

ได้มีโอกาสกลับไปอ่านการ์ตูน Liar Game เจอตอนนึงมีการพูดถึงเทคนิคทางจิตวิทยาที่ชื่อ Door-in-the-face (DITF) เลยไปหาข้อมูลเพิ่มเติมว่าจริง ๆ แล้วเทคนิคนี้มันคืออะไร ก็เจอเรื่องที่น่าสนใจ
ในยุคของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ที่ทรงได้ทำการปฏิรูปบ้านเมืองและการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อแสดงให้เห็นถึงการมีอารยะของประเทศ เพื่อแก้ปัญหาจากการล่าอาณานิคมจากชาติตะวันตกที่เอาความคิดที่ว่าคนขาวมีภาระที่จะทำให้ประเทศต่าง ๆ เจริญขึ้น รวมถึงการแก้ปัญหาที่เกิดจากความขัดแย้งภายในประเทศ การปฏิรูปนี้ใช้แนวความคิดที่เรียกว่า Modernization หรือ การทำให้ทันสมัย เช่น การยกเลิกระบบไพร่ ทาส การปรับปรุงด้านการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียน การให้ทุนการศึกษาต่อต่างประเทศ มีการนำวิทยาการทันสมัยมาปรับใช้ เป็นต้น ส่วน Westernization คือการทำให้เป็นชาติตะวันตก ในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง คำว่า Modernization กับ Westernization แทบจะมีความหมายเดียวกัน นั่นคือ การตีความที่ว่าการที่เราทำเหมือนชาติตะวันตก จะแปลว่าเราทันสมัย
ในปัญหาที่มัน scale เล็ก ๆ เรื่องบางเรื่องอาจจะถูกอธิบายได้ง่าย ๆ ด้วยข้อความสั้น ๆ เช่น ถ้าเรามองแค่เรื่องผลกระทบระหว่างการทดสอบ software กับจำนวน defect ของ software มันก็จะเป็นอะไรที่ดูง่าย และตรงไปตรงมา คือ ถ้าการทดสอบ software มีมาก จำนวน defect ก็จะน้อย ถ้าเราทดสอบ software น้อย จำนวน defect ก็จะมาก แต่ในปัญหาเดียวกัน หากเรามองปัญหาใน scale ระดับใหญ่ขึ้นมาอีกหน่อย เราเริ่มเพิ่มตัวแปรที่เกี่ยวข้องลงไปในปัญหาให้มากขึ้น เช่น จำนวน feature, เวลา, จำนวน developer เราจะเริ่มเห็นผลกระทบที่ซับซ้อนมากขึ้น จนลำบากที่จะอธิบายด้วยคำพูดสั้น ๆ ให้เข้าใจได้ ทำให้การนำไปสื่อสารเพื่อให้คนอื่นเข้าใจเป็นไปได้ยากมากขึ้น หรืออาจจะเข้าใจผิด หรือตีความผิดได้ง่ายขึ้น
ในบริบทการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ feature ถูกกำหนดไว้แล้ว (fixed scope) และเวลาที่จะต้องส่งมอบก็ถูกกำหนดไว้แล้ว (fixed time) หลาย ๆ องค์กรยังคิดว่า การเพิ่มคนลงใน software project จะช่วยให้ project เสร็จเร็วขึ้น หรือเสร็จทันเวลาได้ Fred Brooks กล่าวไว้ในหนังสือ The Mythical Man-Month เกี่ยวกับ Software Project Management ว่า “adding human resources to a late software project makes it later”
เวลาดูหนังตอนฉากที่มีการจับผู้ร้ายหรือผู้ต้องสงสัยได้ ตำรวจเค้าจะพูดอะไรซักอย่างรัว ๆ ยาว ๆ ตอนที่ฟังผ่านซาวด์แทร็กก็ฟังไม่ทัน ได้ฟังแบบพากย์ไทยก็จำไม่ได้อีก จำได้แค่ประมาณว่า “คุณมีสิทธิ์ที่จะไม่พูด เพราะสิ่งที่คุณพูด …” อะไรก็ไม่รู้ ที่เหลือกำลังตื่นเต้นว่าตำรวจจับผู้ร้ายได้แล้วอยู่ ไม่ได้สนใจฟังเลย เมื่อสองวันก่อนได้ฟังรายละเอียดเรื่องนี้ผ่านทางวิทยุคลื่น 102.5 FM เลยเอามาหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ว่า
เจอคำถามนี้ในเว็บ Brilliant.org คริสมีเหรียญ 6 เหรียญที่มีน้ำหนักไม่เท่ากันเลย กับตาช่างแบบสองแขน คริสจะหาวิธีชั่งภายใน 7 ครั้งแล้วได้คำตอบว่าเหรียญไหนหนักที่สุด และเหรียญไหนเบาที่สุด ได้หรือไม่
จำไม่ได้แล้วว่าต้อนนั้นคิดอะไรถึงอยากจะรู้จำนวนเส้นทะแยงมุมของรูปหลายเหลี่ยมใด ๆ จำได้แค่ว่าจู่ ๆ ก็หยิบปากกากับกระดาษมานั่ง ๆ นอน ๆ คิดอะไรไปเรื่อย ๆ จนได้คำตอบออกมาเป็นสูตร ซึ่งตรงกับสูตรในการหาจำนวนเส้นทะแยงมุมของรูปหลายเหลี่ยมใด ๆ พอดี
รู้จักกับคำว่า Vegetarian มาตั้งแต่เด็ก ๆ จำได้ว่าครูสอนว่า Vegetarian คือคนที่เป็นมังสวิรัติ ทีนี้พอเวลาใครพูดถึงคนที่ไม่กินเนื้อสัตว์ ก็จะนึกถึงคำนี้เสมอ ๆ และก็เป็นคำนี้เท่านั้นมาจนโต
เด็ก ๆ รู้จักคำว่า Shrimp กับ Prawn ที่แปลว่า กุ้ง ตอนนั้นคิดว่ามันใช้แทนกันได้ เวลาเอาไปพูดก็ใช้ Shrimp มั่ง Prawn มั่ง มั่วไปหมด จนมาวันนึง ไม่รู้นึกยังไง อยากรู้ขึ้นมาเฉย ๆ ว่าไอ้สองอันนี้มันต่างกันมั๊ย เลยไปค้น ๆ google แล้วเจอจุดแตกต่างประมาณนี้
สมัยเด็ก ๆ อ่านการ์ตูนเจอคำ ๆ นึงที่ทำให้คาใจอยู่มาก คือ ปีแสง ระยะทางห่างจากโลก 54 ปีแสง ได้แต่คอยตั้งคำถามในใจมาตลอด ไอ้ 1 ปีแสงนี่มันไกลขนาดไหนวะ ตอนเด็ก ๆ จำได้ว่ามีหลาย ๆ ครั้งที่เผลอคิดไปว่า ปีแสง เป็นหน่วยของความเร็วไปเสียนี่ ไม่ธรรมดาจริง ๆ … โง่ไม่ธรรมดา